เทคนิค 5 ข้อ ในการดุลูกแล้วไม่ทำ ร้ า ย จิตใจลูกๆ
1 ตำหนิที่การกระทำ ไม่ใช่ที่ตัวลูก
คุณพ่อคุณแม่ควรตำหนิ ที่การกระทำของลูก ไม่ใช่ตำหนิที่ตัวลูก ยกตัว อ ย่ า ง เช่น
แม่ไม่ชอบที่ลูกแกล้งน้อง หรือแม่ไม่ชอบที่ลูกพูด คำ ห ย า บ ทำให้ลูกรับรู้ว่า
การกระทำนี้ คุณพ่อคุณแม่ไม่ชอบ ไม่ยอมรับ และจะปรับปรุงตัว ให้ดีขึ้นในทางกลับกัน
หากคุณพ่อคุณแม่ ตำหนิที่ตัวลูกโดยตรง ยกตัวอย่ างเช่น ทำไมเป็น เ ด็ ก เกเรแบบนี้
หรือลู ก แ ย่ มากที่พูดจาแบบนี้ จะส่งผลให้ลูกรู้สึกว่าตัวเอง ไม่เป็นที่รักของพ่อแม่
เป็นเ ด็ ก ไม่ดี ไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง ท้อแท้ สูญเสียความมั่นใจ และไม่อย ากปรับปรุง ตัวเองต่อไป
2 หลังจากดุแล้ว บอกสิ่งที่อย ากให้ลูกทำ
ยกตัวอย่ างเช่น เมื่อลูกคนโตลงมือตีน้อง แทนที่คุณพ่อคุณแม่ จะบอกกับลูกว่า
ห้า ม ตีน้อง ลองบอกทางแก้ปัญหาให้ลูก เช่น ลูกไม่จำเป็นต้องตีน้อง ต่อไปนี้ถ้าน้องทำอะไร
ให้หนูไม่พอใจให้มาบอกแม่ เพราะการห้ามลูกโดย ไม่บอกวิธีการแก้ปัญหา
เมื่อลูก ไม่พอใจน้อง ก็จะตี น้ องอีก
3 อ ย่ า ดุลูกขณะที่กำลัง ห งุ ด ห งิ ด
ลูกจะ รู้ สึ ก แ ย่ กับความ ห งุ ด ห งิ ด และอารมณ์ โ กร ธ ของคุณพ่อคุณแม่
ดังนั้นหากรู้สึกหงุดหงิด ควรบอกกับลูกว่า ตอนนี้แม่หงุดหงิดมาก เดี๋ยวแม่
จะไปทำ อ ย่ า ง อื่นก่อน หายโกรธแล้ว แม่จะมาคุยเรื่องนี้กับหนูอีกที
นอกจากลูกจะไม่ต้อง รับอารมณ์ของคุณแม่แล้ว ยังได้เรียนรู้
วิธีการจัดกา รกับความ โ ก ร ธ อีกด้วย
4 รับฟังเหตุผลและถามความคิดเห็นในมุมมองของลูก
อ ย่ า รีบตัดสินหรือตำหนิ ลูกโดยที่ไม่เปิดใจรับฟัง คำอธิบายหรือเหตุผลของลูก
เพราะจะทำให้ลูกต่อต้าน และไม่ อ ย า ก อธิบายอะไรให้คุณฟังอีก แต่ควรใช้วิธีพูดคุย
ถามลูกว่าถ้าเกิดทำผิดซ้ำ จะให้มีวิธีการตักเตือน หรือลงโทษ อ ย่ า ง ไร เพื่อให้ลูกคิดถึง
ผลเสีย วิธีแก้ไข และรับผิดชอบใน ความผิดของตัวเอง
5 ไม่ดุลูกต่อหน้าคนอื่น
เพราะจะ ทำให้ลูกเสียหน้า ขาดความมั่นใจ รู้สึกอาย และรู้สึกว่าพ่อแม่ ไม่ให้เกียรติ
นอกจากนี้ ยังทำให้ลูกรู้สึกว่า คำสอนของคุณพ่อคุณแม่ ไม่มีความหมาย เพราะลูก
จะไม่เข้าใจ และไม่รับฟังในสิ่งที่ คุณพ่อคุณแม่ พ ย า ย า ม สอน
แม้ว่าจะเป็น คำสอนที่ดี ขนาดไหนก็ตาม
ขอขอบคุณที่มา Th.theasianparent, staylifeth