Home แนวคิดชีวิต 12 แนวคิด สำหรับคนที่อยากจะเป็นนายตัวเอง

12 แนวคิด สำหรับคนที่อยากจะเป็นนายตัวเอง

8 second read
0
596
12 แนวคิด สำหรับคนที่อยากจะเป็นนายตัวเอง

12 แนวคิด สำหรับคนที่ อ ย า ก จะเป็นนายตัวเอง

1 เริ่มต้นจากธุรกิจขนาดเล็ก ๆ ก่อน

ซึ่งมันเป็นการทดลอง การทำธุรกิจว่าจะไปได้หรือไม่ได้ เหมือนเป็นการ

ลองผิดลองถูก ถ้าเจ๊งก็ไม่ต้องเสี ยเงิน หรืองบประมาณ จำนวนมากไป

แต่ถ้าธุรกิจนั้น มันไปได้รอด หรือได้รับการตอบรับ ที่ดีจากตลาด

และลูกค้า เราก็ค่อย ๆ ขยับขย ายธุรกิจให้ใหญ่ขึ้น และที่สำคัญนั้นมัน

เหมาะสำหรับช่วงที่เรา ยังทำงานประจำอยู่ ที่เรายังไม่สามารถปลีกตัวไป

ทำแบบเต็มตัวได้ ก็ต้องลองทำธูรกิจ ขนาดเล็กๆไปก่อน

2 กำหนดสิ่งที่อย ากทำ

เมื่อเราคิด อ ย า ก เป็นเจ้าของธุรกิจขึ้นมา เราก็ต้องค้นหา หรือถามตัวเอง

ก่อนว่า เรานั้น อย ากทำอะไร หรือมีสิ่งที่ ชอบเป็นพิเศษมั้ย

ยิ่งถ้าเรารัก ในสิ่งที่เราอย ากทำด้วยแล้ว ก็จะทำให้ธุรกิจที่จะทำ

ประสบความสำเร็จ ได้ง่ายขึ้นเพราะเราจะตั้งใจทำอย่ างเต็ม ความสามารถนั่นเอง

3 มองโอกาสของธุรกิจ

สิ่งนี้ถือว่าเป็นสิ่ง ที่สำคัญมากเช่นกัน เพราะถึงแม้ว่า เราจะชอบหรืออย าก

จะทำอะไร ตามต้องการ แต่ถ้าทำไปแล้วไม่มี ลูกค้าไม่มีคนซื้อ

ก็ถือว่ามันไม่คุ้มค่า กับการลงทุน ดังนั้น การที่เราคิดจะ ทำธุรกิจอะไร

ก็ต้องรู้จัก วิเคราะห์ตลาด และพฤติก ร ร มของผู้บริโภคด้วยว่า

ลงทุนวันนี้แล้ว พรุ่งนี้ลูกค้ายังจะซื้อเรา อีกไหม หรือธุรกิจที่เราชอบ

ในวันนี้อีก1-2ปีข้างหน้า ยังจะได้รับ ความนิยมอยู่มั้ย

เราต้องมองโอกาส ของธุรกิจควบคู่ กันไปด้วย

4 วางแผนการตลาดและแผนธุรกิจ

การตลาดที่ ได้รับความนิยม ในวันนี้คือการใช้ช่อง ทางสื่อ ส า ร ผ่ า น

ทางออนไลน์ โดยเฉพาะ ผ่ า น ทาง Social Media ต่างๆ

เพราะเราสามารถ เข้าถึงกลุ่ม ลูกค้าเป้าหมายได้ดีที่สุด

ในขณะเดียวกันนั้น เราก็ต้องจัดทำแผนธุรกิจ ระบุรายละเอียด

ต่าง ๆ ว่าเป้าหมาย ของธุรกิจคืออะไร เราต้องทำงาน

อะไรบ้าง เพื่อให้เราประสบ ความสำเร็จ

5 สอบถามลูกค้าเพื่อหาไอเดีย

ก่อนเราจะลงทุนทำธุรกิจ อะไรให้ประสบความสำเร็จ เราต้องดูเทรนด์ตลาด

และความต้องการ ของผู้บริโภคด้วย อาจจะทำแบบสอบถาม

หรือพูดคุยกับลูกค้ าในพื้นที่นั้นๆโดยตรง หรือสอบถามทาง

ช่องทางออนไลน์ ก็ได้ว่าลูกค้าชอบสินค้า หรือบริการที่เราอย ากจะทำ

หรือไม่ เพื่อเป็นการ แนวร่วมเดียวกัน ถ้าสอบถามจากหลายๆคน

แล้วบอกว่า พวกเขาไม่ชอบ เราก็ยังสามารถ ปรับเปลี่ยนธุรกิจ

ก่อนที่จะ ลงทุนจริงจัง ได้ทันเวลาด้วย

6 ตั้งงบประมาณในการทำงาน

ในช่วงเวลาที่เรา กำลังทำงานประจำ อาจจะไม่สามารถ จัดสรรเรื่อง

งบประมาณ ในการทำธุรกิจ ได้อย่ างเต็มที่ แต่เมื่อเราออกจากงาน

ประจำมา บริหารกิจการของเรา อย่ างเต็มที่แล้ว สิ่งแรกที่ควร

ต้องทำเลยก็คือ เราต้องบริหารงบประมาณ ในการทำธุรกิจ

ให้แยกออก เป็นแต่ละส่วน ไม่ว่าจะเป็นการผลิต การตลาด

การจำหน่าย การขนส่ง รวมเงินทุนหมุนเวียน ในบริษัท เป็นต้น

7 วางโครงสร้างบริษัท

ในเวลาเดียวกันถ้าเรา จะเดินหน้าธุรกิจจริง ๆ ต้องมองด้วยว่าเราจะจัดตั้ง

บริษัทในรูปแบบไหน เช่น บริษัทคนเดียว หรือหุ้นส่วน หรือจัดตั้ง

เป็นห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล เป็นต้น เพื่อที่จะได้รับการดูแล ตามกฎหมายอย่ างถูกต้อง

8 ลาออกจากงานประจำ

เมื่อธุรกิจพร้อมแล้ว ต่อไปก็ให้เราลาออก จากงานประจำเพื่อทำงาน

ของตัวเองอย่ างเต็มที่ แต่ก็อย่ าลืมด้วยว่า ในการออกมาทำธุรกิจ

ของตัวเองนั้น ในวันข้างหน้าเรา อาจจะต้องได้พบ เจอกับหัวหน้าเก่า

เจ้านายเก่า หรือเพื่อนร่วมงานเก่ าๆ ด้วย ดังนั้นก่อนลาออกจาก

งานเราต้องบอก เจ้านาย และเพื่อนร่วมงานให้ดี จะได้ไม่

บ าดหมางใจกัน เพราะอนาคตธุรกิจอาจ ต้องพึ่งพาช่วยเหลือกัน

9 รวบรวมทีมงาน

ถ้าความคิดในการทำธุรกิจ ของเราจะเป็นไปได้ มากที่สุดผลการตอบรับ

จากช่วงทดลองทำ การตลาดได้รับผลการ ตอบรับที่ดี ต่อไปเราต้อง

คิดว่าถ้าเราออก จากงานเพื่อมา ทำธุรกิจของเราเต็มเวลา

เราจำเป็นต้องมี ทีมงานเพื่อการ ขย ายธุรกิจให้มีขนาดใหญ่

ขึ้นกว่าเดิม ไม่ว่าจะเป็นทีมงาน การตลาด การเงิน การผลิต การบริการลูกค้า เป็นต้น

10 การหาแหล่งเงินทุน

ถ้าเราคิดจะ ทำธุรกิจขนาดเล็ก เราอาจใช้เงินเก็บจาก การทำงานประจำ

มาใช้จ่ายช่วง 1-2 เดือนแรกก่อนก็ได้ ถ้าหากมีเงินเก็บจำนวนมาก

แต่ถ้าอย ากทำธุรกิจที่มันใหญ่ขึ้น เพราะมีตลาด และลูกค้ารองรับ

อยู่แล้ว ก็อาจจำเป็นต้องหา แหล่งเงินทุนที่ ปลอด ภั ย

ไม่ว่าจะเป็นการ ขอสินเชื่อจากสถาบัน การเงินต่างๆ

11 ประเมินธุรกิจและปรับเปลี่ยน

หลังจากที่เราได้ทดลอง หรือเริ่มต้นทำธุรกิจไปแล้ว พอ ผ่ า น ไปได้ประมาณ

เดือนกว่าๆ ก็ลองมาวิเคราะห์ ธุรกิจดูว่าผลกา ตอบรับจากตลาด

และลูกค้าของเรา เป็น อ ย่ า  งไร ยอดขายเพิ่มขึ้น ทุกวันหรือไม่

หรือคงที่ หรือยอดขายตก เมื่อเราเห็นภาพก็ จะสามารถนำไป

ปรับปรุงแก้ไข ได้ทันท่วงที โดยนำเอาข้อ เสนอแนะ

จากลูกค้ามา ปรับปรุงให้ตอบโจทย์ ลูกค้าจะดีที่สุด

12 ปรับขนาดธุรกิจตามแผนการตลาด

สุดท้ายคือการทำธุรกิจ ให้เป็นไปตามแผนงาน หรือแผนธุรกิจที่เรา

ได้เขียนเอาไว้ตั้งแต่เริ่มต้น ถ้าออกจากงานแล้ว ธุรกิจไปได้สวย

แต่ตอนแรกแผน ธุรกิจเขียนเล็กๆเรา ก็ต้องมาปรับขนาดธุรกิจ

ให้เท่ากับแผนการ ตลาดในปัจจุบันด้วย เช่น ถ้าหากสินค้าเป็นที่ต้องการ

ของตลาดต่าง ประเทศมากกว่า เราก็ต้องปรับขนาดธุรกิจ ให้ใหญ่ขึ้นตามด้วย

เพื่อรองรับตลาด ต่างประเทศ เช่น อาจต้องเพิ่ม ทีมงานด้านต่างประเทศ

โดยเฉพาะรวมถึงเพิ่ม กำลังการผลิตที่ มากขึ้นด้วยนั่นเอง

ขอขอบคุณที่มา the-wayoflife

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…