Home แนวคิดชีวิต 7 เทคนิค เปลี่ยนตัวเองให้มีเงินเก็บเยอะขึ้น

7 เทคนิค เปลี่ยนตัวเองให้มีเงินเก็บเยอะขึ้น

6 second read
0
766
7 เทคนิค เปลี่ยนตัวเองให้มีเงินเก็บเยอะขึ้น

7 เทคนิค เปลี่ยนตัวเองให้มีเงินเก็บเยอะขึ้น

1 แบ่งเงิ นทันที

ทันทีที่เ งินออก สิ่งแรกที่ต้อง ทำคือจัดสรรเงิ น ให้เป็นก้อนๆ ก้อนหนึ่ง

ไว้ใช้จ่ายทั่วไป ในชีวิตประจำวัน ก้อนหนึ่งใช้หนี้ อีกก้อนหนึ่งไว้

ให้รางวัลตัวเอง และต้องไม่ลืมแบ่ง อีกก้อนเป็นเงิ น ออมไว้

เผื่ออนาคตด้วย ซึ่งการจัดสรรเ งินนี้ สามารถประยุกต์ได้

ตามรายรับ รายจ่ายของ แต่ละคน

2 ใช้จ่าย อ ย่ า ง รู้ตัว

ถ้าของมันต้องมี คงไม่ดีถ้าไม่ซื้อ ความอย ากได้อย ากมี

อย ากกินอย า กซื้อ ที่เกินความจำเป็น ในชีวิตเรานั้น มีกันทุกคน

ดังนั้นเราสามารถ ซื้อทุก อ ย่ า ง ที่ต้องการได้ ตราบเท่าที่มีเ งินจ่าย

แต่ต้องยึดกฎเหล็กว่า จะต้องไม่สร้างหนี้ และไม่ไป

ดึงเ งินก้อนอื่น ที่แบ่งไว้แล้วก่อน หน้านี้มาใช้

3 ออมให้เป็นนิสัย

ไม่จำเป็นต้องอด ทุกความสุข หมดสนุกกับทุก อ ย่ า ง

เพราะเรา วางแผนเองได้ว่า จะออมเท่าไหร่ จะใช้วิธีออมทีละนิด

อ ย่ า ง สม่ำเสมอ หรือจะเข้มงวด ตามสูตรออม ขั้นต่ำร้อยละ 10

ของรายรับ ก็ได้แต่ อ ย่ า ละเลย การออมเงิ น เพราะเงิ นส่วนนี้นี่แหละ

ที่จะช่วยให้อยู่ รอดในย ามคับขัน รวมถึงเป็น เงิ นสำหรับใช้จ่าย

ในอนาคต ตามหลักแล้ว เราควรมีเงิ นสำรอง ไว้ใช้ในกรณี ฉุ กเ  ฉิ น

อ ย่ า ง น้อย 3 เดือนเมื่อเกิดเหตุ ไม่คาดฝันขึ้น ก็ยังมีเงิ นใช้

และหากบริษัท มีสวัสดิการ ให้พนักงาน เป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

ด้วยก็ยิ่งดี ซึ่งจะช่วยให้ การออมเงิ นของเรานั้นง่ายขึ้น หากเกิดกรณีที่จำเป็น

ต้องใช้เงิ นหรือเกษียณ งานไปแล้ว ก็มั่นใจได้ว่ามีเงิ น ก้อนให้ใช้แน่นอน

4 บันทึกรายรับรายจ่าย

การควบคุม การใช้เงิ นที่ดีที่สุด ก็คือบันทึกการ ใช้เ งินของตนเอง ซึ่งประโยชน์

จากการเขียน รายรับรายจ่ายทุกวัน จะทำให้เรารู้ รายละเอียด การใช้เงิ นในแต่ละวัน

ว่ามีเ งินในกระเป๋าอยู่เท่าไหร่ หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน เมื่อใช้จ่ายไปแล้ว

เหลือเท่าไหร่อีกทั้ง ยังทำให้เรา เห็นรายจ่าย ส่วนเกินได้ง่ายจึงช่วยให้ตัด

ค่าใช้จ่าย ที่เกินความจำเป็น ทิ้งได้ง่ายขึ้น ตามไปด้วย

5 นำไปลงทุน

การลงทุนที่ดี คือการทำให้เ งิน ที่นอนอยู่นิ่งๆไป ทำให้งอกเงย ซึ่งเราสามารถ

นำเ งินไปลงทุนได้ ตามรูปแบบที่สนใจ และเหมาะสม กับรายรับรายจ่าย

อ ย่ า ง ไรก็ตามทุกการลงทุน มีความเสี่ยงจึงจำเป็น อ ย่ า ง ยิ่ง ที่จะต้องศึกษา

วิธีการลงทุน ให้เข้าใจเป็น อ ย่ า ง ดี และเลือกปรึกษา คนที่ไว้ใจได้เท่านั้น

6 บริหารการชำระหนี้

หนี้ที่ว่าคือ ค่าบ้านค่ารถ ค่าบัตรเครดิต และอีก ส า ร พัดหนี้

การวางแผนจ่ายหนี้ จะช่วยให้การเงิ น ไม่ขาดสภาพคล่อง

เช่น ชำระหนี้ให้ตรงเวลา เพื่อที่จะได้ไม่ ต้องเสียดอ กเบี้ย

และ ค่าตามทวงหนี้ ชำระหนี้รายเดือน ให้ได้จำนวนเงิ นขั้นต่ำ

เป็น อ ย่ า ง น้อย ถ้ายังมีเงิ นเหลือก็โปะหนี้ ให้มากหน่อย

เพื่อลดเงิ นต้น หรือถ้าฝืดเคืองจริงๆ ควรเลือกจ่ายหนี้

ที่มี ด อก เบี้ยสูงก่อน เพื่อตัด วงจร ดอ กเบี้ยบานปลาย

7 รั ก ษ า สถานภาพทางการเงิ น

การบริหารเงิ น จะต้องมีวินัย และปฏิบัติต่อเนื่อง อ ย่ า ง เคร่งครัด ถ้าเริ่มทำได้

เป็นระบบอยู่ตัวแล้ว ก็ต้อง รั ก ษ า สถานภาพ ทางการเงิ นไว้ให้ได้ ตามมาตรฐาน

ในตอนแรกด้วย ทั้งนี้ อ ย่ า ลืมแผนสำรอง สำหรับปรับ การใช้เงิ นให้ยืดหยุ่น

ตามสถานการณ์ด้วย เพียงเท่านี้สภาพการเงิ น ก็จะคล่องตัวและมี ความมั่นคงในระยะย าว

ขอขอบคุณที่มา tonkit360, stand-smiling

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…