7 พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่พ่อแม่สปอยล์ลูกจนเกินไป
1 ให้ลูกเป็นทุกลมหายใจของพ่อแม่
เมื่อมีลูก พ่อแม่หลายคน ก็ได้อุทิศชีวิตทั้งชีวิต ให้กับลูก เป็นทุก อ ย่ า ง
ทำทุก อ ย่ า ง คิดทุก อ ย่ า ง ให้ลูกจนลูกไม่มีชีวิต เป็นของตัวเอง
พ่อแม่กลุ่มนี้ จะไม่อยู่ห่างจากลูก ยอมทิ้งทุกสิ่ง อ ย่ า ง เพื่อทำตาม
สิ่งที่ลูกต้องการ และทำให้ลูกเป็น ศูนย์กลางจักรวาล
2 ชดเชยความผิดของพ่อแม่ด้วยสิ่งของ
เช่น พ่อแม่ที่ต้องทำงาน มักจะรู้สึกผิดที่ ไม่ได้ใช้เวลาอยู่
กับลูกได้มากพอ จึงซื้อของเล่นให้ลูกเยอะ ๆ เพื่อชดเชย
ความผิดนี้ การทำแบบนี้ สอนให้ เ ด็ ก รู้ว่า เมื่อคนอื่นทำอะไรผิด
เขาจะได้รับสิ่งของ เป็นการตอบแทน สำหรับพ่อแม่ที่ต้อง
ทำงานนอกบ้าน ไม่ต้องกังวลใจไปว่า การมีเวลาอยู่กับลูก
เพียงเล็กน้อย จะทำให้ลูกมีปัญหา เพียงแค่คุณพ่อคุณแม่
ใช้เวลาคุณภาพอยู่กับลูก โดยการหากิจ ก ร ร ม ทำร่วมกัน
และช่วงเวลาที่อยู่กับลูก ให้คุณพ่อคุณแม่ โฟกัสไปที่ลูกเพียง
อ ย่ า ง เดียว ไม่หยิบมือถือ ไม่คิดเรื่องงาน หรือเรื่องอื่น ๆ
แม้จะเป็นการใช้เวลา ร่วมกันเพียงน้อยนิด แต่ก็ช่วยเติมเต็ม
ให้ลูกได้มากกว่า การอยู่กับลูกทั้งวัน แต่พ่อแม่ไม่สนใจลูกอีกค่ะ
3 ไม่เคยปล่อยให้ลูกรอ
เมื่อลูก อ ย า ก ได้อะไร ชี้อะไร สิ่งของเหล่านั้น จะมาอยู่ตรงหน้า
ลูกทันที พฤติ ก ร ร ม ที่พ่อแม่ทำนี้จะ ทำให้ลูกไม่รู้จักการรอคอย
การอดทน การอดออม เพื่อให้ได้สิ่งที่ต้องการ มาเป็นของตน
ลูกจะไม่เห็นสิ่งอื่น ๆ มีค่า เพราะไม่เคย ต้องอดทนรอ
หรือคอยเลย บางครั้งการปล่อย ให้ลูกได้หิว ร้อน เหนื่อยบ้าง
จะทำให้ลูกรู้ว่า อาหารที่อยู่ตรงหน้าอร่อย เพียงใดก็เป็นได้
เข้าใจดีว่า เ ด็ ก ก็คือ เ ด็ ก ในบางครั้งลูก อาจจะงอแง อ ย า ก มี
อ ย า ก ได้ ตามวัยของเขา และพ่อแม่ทุกคน ก็ไม่ อ ย า ก เห็นลูกเสียใจ
แต่เราจะตามใจ ลูกได้แค่ไหน โดยที่ไม่เป็น การสปอยล์
ลูกจนเสียนิสัย ไปดูเทคนิค กันค่ะ
4 รับฟังความต้องการของลูกแต่แก้ปัญหาตามแนวทางของพ่อแม่
ให้ลองรับฟังลูกว่า ลูกต้องการอะไร รู้สึกเสียใจเพราะอะไร ยิ่งเราฟังลูกมาก
เท่าไร ลูกก็จะยิ่งไว้ เนื้อเชื่อใจเราเท่านั้น และเมื่อรับฟังแล้ว
สิ่งสำคัญหลังจาก นั้นคือแนวทางการช่วย แก้ปัญหาให้ลูก
พ่อแม่ควรยึดหลัก และกฎเกณฑ์ใน บ้านเป็นหลัก ไม่ควรแหวก
กฎเกณฑ์ เพื่อตามใจลูก เช่น เมื่อลูก อ ย า ก ได้ โทรศัพท์มือถือเพราะ
เพื่อนมีกันหมดแล้ว ให้คุณพ่อคุณแม่รับ ฟังว่าลูกรู้สึก อ ย่ า ง ไร
ต้องการมากแค่ไหน หลังจากนั้นให้ย้ำ ถึงกฎเกณฑ์ ว่าเราได้ตกลง
กันแล้วว่าลูกจะมี โทรศัพท์มือถือได้เมื่อลูก อยู่ในวัยที่เหมาะสมเท่านั้น เป็นต้น
5 อ ย่ า กลัวที่จะให้ลูกผิดพลาด
ผิดเป็นครู ถ้าลูกไม่รู้จักผิดพลาด ผิดหวังเลย จะมีแรงจูงใจอะไร
ให้ พ ย า ย า ม ทำสิ่งเหล่านั้นให้สำเร็จได้ และลูกจะรู้จักระมัดระวัง
ไม่ให้เกิดความผิดพลาด หรือไม่ถ้าไม่เคยทำผิดเลย ตัว อ ย่ า ง เช่น
เวลาเล่นเกมกับลูก ไม่จำเป็นต้อง ยอมแพ้และให้ลูก ชนะทุกครั้ง
การให้ลูกรู้จักแพ้บ้าง เพื่อให้ลูกได้ พ ย า ย า ม ทำให้ตัวเองชนะ
ก็เหมือนกับการ ที่พ่อแม่ต่อขั้นบันได ให้ลูกได้ปีน ผ่ า น อุปสรรค
ต่าง ๆ จนทำสิ่งเหล่านั้น ได้สำเร็จนั่นเอง และเมื่อลูกทำสำเร็จ
ได้ด้วยตัวเอง ลูกจะมีความภาคภูมิใจในตัวเอง Self-Esteem
ซึ่งความภาคภูมิใจนี้ จะเป็นผลดีกับชีวิต ของลูกในอนาคต
6 อ ย่ า สรรเสริญเยินยอลูกจนมากเกินไป
การชื่นชมลูกเพื่อ เป็นกำลังใจให้ลูกเป็นสิ่งสำคัญ แต่การชม
จนมากเกิน ไปจนถึงขั้นสรรเสริญเยินยอ ก็อาจจะเป็นการ
ทำ ร้ า ย ลูกได้ เพราะเป็นการ ส่งเสริมพฤติ ก ร ร ม ที่หลงตัวเอง
จนเกินพอดี หรือบางครั้ง อาจจะเป็นการ กดดันลูกได้
เพราะลูกจะรู้สึกว่า พ่อแม่คาดหวังให้ ลูกเป็นแบบนั้น การชมลูก
ที่ถูกต้อง ควรเน้นที่การชมถึงความพย าย ามของลูก ว่าการที่ลูก
ทำสิ่งนั้น ๆ สำเร็จได้ เป็นเพราะลูกพย าย าม เช่น เมื่อลูกสอบ
ได้คะแนนดี แทนที่จะชมว่าลูกหัวดี เรียนเก่ง ให้ลองปรับ
คำพูดเป็น เป็นเพราะลูก พ ย า ย า ม ตั้งใจเรียน ตั้งใจทบทวน
อ่านหนังสือ เลยทำให้ลูกได้คะแนนดี เป็นต้น
7 รั ก ษ า กฎเกณฑ์ภายในบ้าน
อ ย่ า ปล่อยให้ลูก แหวกกฎเกณฑ์ ภายในบ้านซ้ำ ๆ
เพราะจะทำให้ลูกลด ความเคารพใน สิทธิของคนอื่น ๆ
การตั้งกฎเกณฑ์ ภายในบ้านของทุกบ้าน เป็นเพราะพ่อแม่
ต้องการจำลอง สถานการณ์ให้ลูก ได้รู้จักกฎของการอยู่
ร่วมกันกับคนอื่น ๆ ดังนั้น อ ย่ า ปล่อยให้ลูก ทำตามใจตนเอง
เอาตนเองเป็น ศูนย์กลาง ไม่ทำตาม กฎเกณฑ์ต่าง ๆ
เมื่อต้องอยู่ร่วมกับ คนในครอบครัว เพราะหากลูกทำจนชิน
เมื่อลูกต้องออกไป อยู่ร่วมกับสังคม ลูกจะไม่ได้รับการยอมรับ
จากคนในสังคมนั่นเอง และเมื่อลูกมีอาการ ร้องไห้งอแง โวยวาย
ให้ตั้งสติก่อน ปรับพฤติ ก ร ร ม ลูก อ ย่ า ใช้อารมณ์ และเน้นใช้
ความสม่ำเสมอ นั่นคือ ไม่ให้ความสนใจกับพฤติ ก ร ร ม ที่ลูกแสดงออก
หากอยู่ในที่สาธารณะ ให้พาไปในที่เงียบสงบ ใช้การอธิบายที่นิ่ง
และมั่นคง ไม่แสดงอารมณ์ เมื่อพ่อแม่แสดงออก ถึงวุฒิภาวะที่มั่นคง
ลูกจะค่อย ๆ อาการงอแง และโวยวายจะค่อย ๆ ลดลงไป
แต่ความรู้สึกถึง ความรักจากพ่อแม่ จะยังคงอยู่
ขอขอบคุณที่มา meokayna