Home แนวคิดชีวิต 3 เหตุผล บ่งชี้ว่าทำไมขายของดีแต่เจ๊ง

3 เหตุผล บ่งชี้ว่าทำไมขายของดีแต่เจ๊ง

8 second read
0
14,348
3 เหตุผล บ่งชี้ว่าทำไมขายของดีแต่เจ๊ง

3 เหตุผล บ่งชี้ว่าทำไมขายของดีแต่เจ๊ง

1 ไม่แยกแยะเงินของธุรกิจออกจากเงินส่วนตัว

การที่ไม่ตั้งเงินเดือน ให้ตัวเองเพราะคิดว่า ตัวเองคือเจ้าของธุรกิจ

และเป็นเจ้าของเงิน ทั้งหมดอยู่แล้วจะใช้ อ ย่ า ง ไรก็ได้ นั่นคือ

แนวคิดเริ่มต้นที่ผิด เพราะต้องมองให้ธุรกิจ เป็นเหมือนบุคคลอีกคนหนึ่ง

ที่เรารับจ้าง ทำงานให้อยู่เวลา เราจ้างลูกจ้างจ่าย เงินเดือนชัดเจน

ใช้เกินกว่านั้นไม่ได้ แต่ตัวเราซึ่งรับจ้างธุรกิจ ที่เราก่อตั้งขึ้นมากลับใช้เงิน

ได้ไม่จำกัด ซึ่งส่งผลทำให้ เงินที่เป็นค่าใช้จ่าย ด้านเงินเดือนไม่คง ที่ในแต่ละเดือน

ขึ้นอยู่กับเราจะ เ ม า มันหยิบมาใช้มากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ต้องตั้งเงินเดือนให้ตัวเอง

แล้วจ่ายเงินเดือนเมื่อ สิ้นเดือนเหมือนพนักงาน คนอื่นๆแล้วต้องใช้เงินแค่นั้น

ห้ามเกิน ถ้าเกินก็ ห้ามหยิบ มาจากลิ้นชักอีก ต้องไปหายืม คนอื่นเอาเอง

ห้ามยืมจากลิ้นชัก ถ้าจะยืมจากลิ้นชักจริงๆ ก็ต้องจดแล้วนำมาคืน อ ย่ า ง เคร่งครัด

2 ไม่ทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย

เมื่อจ่ายเงินเดือน ให้ตัวเองมาแล้วควรจะ ทำบัญชี รายรับ-รายจ่ายให้ตัวเอง

ด้วยคร่าวๆ ก็ได้เอาพอรู้ว่าแต่ ละวันจ่ายอะไรไปเท่าไหร่ เหลือเงินใช้ได้อีกเท่าไหร่

ไม่ใช่ใช้สนุกมือ ไปเรื่อยเพราะเห็นว่า ธุรกิจขายดีถ้าคิดว่าขายดี และเงินเดือน

ที่ตั้งให้ตัวเอง ไม่พอใช้ขึ้นเงินเดือน ให้ตัวเองซะจะขึ้นเท่าไหร่ ไม่มีใครว่า

แต่ควรเป็น ตัวเลขที่มีเหตุผล และไม่ทำให้กระทบ กับรายรับของธุรกิจ

จะรู้ได้ อ ย่ า ง ไรว่าไม่กระทบ ต้องทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของธุรกิจ

ด้วยอันนี้ถ้าไม่ทำ แย่เลยนะของส่วนตัว ข ี้เกียจทำใช้ ระบบนับเงินที่เหลือ

ในกระเป๋ายังพอได้ แต่ของธุรกิจไม่ทำบัญชี เดี๋ยวจะรวยแบบ

ไม่รู้เรื่อง และเจ๊งแบบ ไม่รู้เรื่องเช่นกัน

3 ใช้เงินผิดประเภท

เพื่อนผมเอาเงินที่หยิบ จากลิ้นชักไปซื้อข้าวกินไป เลี้ยงสังสรรค์ไปซื้อของ

ใช้เข้าบ้านไป ผ่อนรถฟังดูแล้วล้วน แต่เป็นเรื่องส่วนตัว ทั้งสิ้นเรื่อง

ส่วนตัวต้องใช้เงินส่วนตัว คือเงินเดือนของ ตัวเองแต่เงินของธุรกิจ

ควรจะจ่ายใน สิ่งที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น ชำระหนี้การค้าซื้อวัตถุดิบ

จ่ายเงินเดือนค่าจ้างฯลฯ อะไรก็ได้ที่เกี่ยวกับธุรกิจ ตอนที่รับเงินจากลูกค้า

ในเงินแต่ละก้อน ที่ได้รับประกอบด้วย ต้นทุนของสินค้าต้นทุน ค่าดำเนินการ

และกำไรอยู่ในนั้น แต่เวลาที่เรา หยิบออกมาจ่าย เรากลับมองว่าวันนี้

รับมาเท่าไหร่ โดยมองว่าเป็นรายรับล้วนๆ ไม่คิดจะแยกทุน แยกกำไรกันเลย

พอเอาไปใช้ ผิดประเภทเท่ากับว่าได้ใช้ ทั้งกำไรและต้นทุนไปทั้งหมด

ก็จะอยู่ในอาการ ทุนหดกำไร ไม่เหลือ

ขอขอบคุณที่มา forlifeth

Check Also

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า

15 ประโยค เหล่านี้ที่ไม่ควรพูดกับหัวหน้า 1 งานนี้ไม่ใช่งานในความรับผิดชอบ แม้ไม่ใช่งาน ในค…