10 เคล็ดลับ การออมเงิน เพื่อให้อนาคตสบาย
1 เก็บเฉพาะแบงก์หรือเหรียญที่กำหนด
วิธีที่ได้รับความนิยมมาก คือ การงดใช้แบงก์ หรือเหรียญบางชนิด
เช่น บางคนไม่ใช้แบงก์ 50 บาท เมื่อได้รับแบงก์ 50 บาทมา จะต้องเก็บเท่านั้น
หรือบางคนอาจจะเลือกเก็บเหรียญ 10 บาทแทนก็ได้
ข้อดี จดจำง่าย ไม่มีการกำหนด ต า ย ตัวถึงจำนวนเงินที่ต้องเก็บในแต่ละวัน
ข้อเสีย หากได้รับเงินทอนเป็นแบงก์ หรือเหรียญแบบที่กำลังเก็บอยู่ การใช้จ่ายจะลำบากมากขึ้น
2 สะสมเงินทุกวันตามวันที่
การเก็บเงินโดยเพิ่ม มูลค่าขึ้นเรื่อย ๆ เป็นการเก็บเงิน ตั้งแต่ต้นเดือน
นับวันที่ 1 แล้วเก็บ 1 บาท วันที่ 2 เก็บ 2 บาท จนถึงวันสุดท้ายเก็บ 28, 29, 30
หรือ 31 บาท แล้วแต่วันที่สุดท้าย ของเดือน
ข้อดี เริ่มต้นด้วย ตัวเลขน้อย ๆ จูงใจให้ อ ย า ก เก็บเงิน
ข้อเสีย ได้เงินเก็บน้อย เพราะครบ 1 เดือน จะได้มากสุดเพียง 470 บาท
เหมาะกับ การเก็บครึ่งปี หรือรายปีมากกว่า
3 กำหนดเงินเก็บตามเหตุการณ์
วิธีนี้ได้รับความนิย มเป็น อ ย่ า ง มากสำหรับคน ที่มีแรงบันดาลใจ
ในบาง อ ย่ า ง เช่น ชื่นชอบศิลปิน หรือดาราจึงมี การกำหนดเงินเก็บอิง
ตามการปรากฏตัว ตามสื่อต่าง ๆ เช่น ออกงานใหญ่ เก็บ 100 บาท
โพสต์สเตตัส ลงบนสังคม ออนไลน์ เก็บ 150 บาท
ข้อดี เป็นการสร้างแรงบันดาลใจ ในการออมควบคู่ไปกับการ ติ ด ต ามสิ่งที่ชอบไปพร้อม ๆ กัน
ข้อเสีย ไม่สามารถกำหนดเงินออมได้ บางครั้งอาจต้องออมเงิน เป็นจำนวนมาก
ในขณะที่บางคราว อาจไม่ได้ ออมเงินเลย
4 ให้เงินรายวันตัวเอง
การจำกัดรายจ่ายของตัวเอง จะช่วยให้การใช้จ่ายใ นแต่ละวันลดน้อยลง
โดยต้องมีการวางแผนตั้งแต่ เงินเดือนออก แล้วตัดแบ่งส่วนที่ต้องการ
ออมเก็บไว้ เงินที่เหลือจึงมาถัวเฉลี่ย สำหรับใช้จ่ายในแต่ละวัน
ข้อดี สามารถกำหนด เงินออมเองได้ และแน่นอนในทุกเดือน
ข้อเสีย อาจต้องลดค่าใช้จ่า ยบางส่วนเพื่อให้เงิน พอใช้ในแต่ละวัน
5 เปิดบัญชีฝากประจำ
การเปิดบัญชีฝากประจำเป็น การเปิดบัญชีแบบถอนไม่ได้ ผู้เปิดจะต้อง
ฝากเงินให้ ครบตามที่กำหนด อาจมีการให้ธนาคาร ดึงเงินจากเงินเดือน
เก็บเข้าบัญชีฝาก ประจำได้เลย รวมไปถึงการลงทุน ในกองทุนรวมด้วย
ข้อดี สะดวกในการฝาก ธนาคารจะดึงเงินบางส่วน จากเงินเดือนไปเก็บไว้ให้
ข้อเสีย อาจเกิดปัญหา เงินเดือนไม่พอใช้
6 เก็บจากเศษเงินเดือน
เงินเดือนในแต่ละเดือนมักจะ มีเศษเงินที่ไม่ลงตัวหลังจาก หักค่าสมทบประกันสังคมแล้ว
เงินส่วนที่เป็น เศษนั้นให้เก็บไว้ และใช้เฉพาะยอด ที่เป็นจำนวนเต็ม
ข้อดี มีเงินเก็บสม่ำเสมอ ทุกเดือน
ข้อเสีย เก็บได้ในจำนวน ที่น้อย
7 บันทึกรายรับ-รายจ่าย
การจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายเป็นประจำ จะช่วยให้เห็นเงิน ที่ใช้จ่ายในแต่ละวัน กระตุ้นให้เกิด
การออมเมื่อเห็นยอดใช้จ่าย และช่วยในการตัดยอดซื้อ ที่ไม่จำเป็นออกไปได้
ข้อดี ช่วยให้การออม เป็นระบบมากขึ้น แบ่งค่าใช้จ่ายเป็นสัดส่วน
ข้อเสีย กดดันตัวเองจนเกินไป โดยเฉพาะเมื่อใช้จ่าย กับสิ่งที่เสียดายภายหลัง
8 ใส่กระปุกที่เปิดไม่ได้
กระปุกออมสินเป็นตัว ช่วยสำคัญในการออม และกระปุกแบบ ที่ไม่มีช่องสำหรับเอา
เงินออกมา ต้องทุบกระปุกทิ้งเท่านั้น ก็เป็นสิ่งที่ช่วยบังคับ ให้การออมบรรลุผล
ข้อดี มีเงินออมรออยู่ ในกระปุกแน่นอน
ข้อเสีย ไม่สามารถหยิบเงินออกมา ใช้จ่ายใน ย า ม จำเป็นได้
9 งดอาหารหรือสินค้าฟุ่มเฟือยประจำวัน
การออมที่ดีจะต้องเริ่มต้น ด้วยการมีเงินเหลือออม การจะทำให้มีเงินเหลือ จึงจำเป็นต้อง
ตัดค่าใช้จ่ายบาง อ ย่ า ง ที่ไม่จำเป็นออกไป มีการลดค่าใช้จ่ายบางส่วน โดยมาก
มักลดอาหารทานเล่น เช่น ลดกาแฟเหลือเพียงวันละแก้ว หรืองดขนมขบเคี้ยว หลังพักเที่ยง
ข้อดี ประหยัดค่า ใช้จ่ายมากขึ้น ทำให้มีเงินออม
ข้อเสีย รู้สึกการใช้จ่ายไม่คล่องมือ เพราะเกิดการตัด การใช้จ่ายบางส่วนทิ้งไป
10 เผื่อเวลาตัดสินใจก่อนซื้อของ
ก่อนจะตัดสินใจซื้อสินค้า มูลค่าสูงสักชิ้น ควรต้องให้เวลา ในการทบทวนเสียก่อน
เมื่อแน่ใจว่า อ ย า ก ได้จริง ๆ จึงค่อยซื้อ รวมถึงมองหาโปรโมชั่น
ทั้งของทางร้าน โปรโมชั่น บัตรเครดิต และโปรโมชั่นบัตรสมาชิกต่าง ๆ
เพื่อให้ การใช้จ่ายถูกลง ไม่เบียดบังเงินออม
ข้อดี การซื้อของจะได้สิ่งของที่ อ ย า ก ไ ด้จริง ๆ ไม่ค่อยซื้อมาทิ้งเฉย ๆ
ข้อเสีย ต้องใช้ความอดทน และการหักห้ามใจระหว่างพิจารณา รวมถึงสินค้าบางชิ้นอาจจะหมดลงก่อน
วิธีการออมเงิน
การออมเงินเป็นการวางแผน การใช้เงินที่ได้ผลดีวิธีหนึ่ง เมื่อฝึกจนมีความเคยชิน
จะสามารถออมเงินในระยะ ย า ว ได้ และเงินออมส่วนนี้ จะเป็นเงินสำรองไว้ใน ย า ม ฉุ กเ ฉิ น
อาจจะมีการต่อยอดเป็นเงินลงทุน เพื่อให้มีกำไรงอกเงย หรืออาจจะสมัครบัตรเครดิต
เพื่อฝึกวินัยในการใช้เงิน และช่วยแบ่งเบาค่าใช้จ่าย เมื่อต้องการซื้อสินค้ามูลค่าสูง
ทำให้ไม่ต้องใช้เงินครั้งละมาก ๆ และมีเงินออมเหลือเก็บ ในแต่ละเดือนดังเดิม
ขอขอบคุณที่มา meokayna