(เรื่องนี้เขียนได้ดีมาก) ฐานะจนได้แต่ อ ย่ า เป็นคนจนความคิด
จริงอยู่ที่ไม่มี ใคร อ ย า ก จ นหรอก แต่บางครั้งเรา ก็หนีไม่พ้น ต้องย ากจ น
ทั้งแบบตั้งใจ และแบบไม่ตั้งใจ ความจ นแบบไม่ตั้งใจ เป็นเพราะเราเลือก
เกิดไม่ได้ เมื่อเราต้องเกิดมา ในครอบครัวที่ ย า ก จ น ไม่ได้ร่ำรวย นั่นถือว่า
เป็นการจ นแบบไม่ได้ตั้งใจ ส่วนการจ นแบบตั้งใจนั้น ก็หมายถึง เราไม่มีเงิน
เพราะเราเองไม่ขยัน ไม่อดทน หรือเราอาจเคยรวย เคยมีฐานะดี
แต่ที่เราต้องจ นแบบตั้งใจ ก็เพราะเกิดจากการสร้างหนี้ การใช้เงินฟุ่มเฟือย
ไม่ระมัดระวัง ให้คนอื่นยืมเงิน แล้วโดนหนีหนี้ ทำธุรกิจไม่ประสบความสำเร็จ
ล้ ม ล ะ ล า ย ทำให้กลายเป็นคนจ นแบบตั้งใจ เมื่อต้องอยู่ในสถานะที่เรียกว่า
จ น แล้ว ก็แปลว่า เราจ นเงิน ไม่มีเงินใช้จ่าย แบบสบายไร้กังวล เงินที่ได้มา
อาจจะพอ หรือไม่พอกับค่าใช้จ่ายด้วยซ้ำ หาก อ ย า ก ได้สิ่งของอะไร
ก็ไม่สามารถซื้อได้ อ ย่ า ง ที่ใจหวัง ต้องรอ และบางครั้งก็ไม่รู้ว่า
จะต้องรออีกถึงเมื่อไหร่ ความจ นนั้นแบ่งได้ หลายระดับ จ นมากหรือจ นน้อย
จ นมากก็หมายถึง จ นถึงขนาด ต้องเป็นหนี้ รายได้ไม่พอ ค่าใช้จ่าย ต้องหยิบยืม
ก ู้หนี้มา ส่วนจ นน้อย ก็อาจจะหมายถึง มีรายได้แค่เพียงพอ กับค่าใช้จ่ายเท่านั้น
อาจไม่ถึงกับเป็นหนี้ แต่ก็ไม่มีเงินเหลือ เก็บมากพอที่จะยก ฐานะของตัวเองให้ดีขึ้น
จ นพ้นจากความจ นไปได้ มีคนเคยแบ่ง ความจ นไว้เป็น 4 แบบด้วยกัน
มาดูกันว่า เราอยู่ในข่ายไหน ของความจ นกันบ้าง
1 จ นเงิน
คนจ นเงิน ก็คือคนที่ไม่มีเงิน หรือมีเงินน้อย น้อยจ นไม่เพียงพอ
ที่จะดูแลตัวเอง หรือครอบครัวได้ ความหมาย ของจ นเงิน
มักเป็น ความจ นที่คนทั่วไป เข้าใจกัน
2 จ นเวลา
คนจ นเวลา ก็คือ คนที่ไม่มีเวลา หรือมีเวลาน้อย จ นไม่สามารถ
ทำในสิ่งที่ตัวเอง ต้องการจะทำได้ คนจ นเวลาบางคน
มีเงินแต่ไม่มีเวลาใช้เงิน เพราะมัวแต่หาเงิน ส่วนคนจ นเวลาบางคน
ก็ไม่มีเงินด้วย เรียกว่าจ นทั้งเวลา และจ นทั้งเงิน
3 จ นโอกาส
คนจ นโอกาส ก็คือคนที่แทบ ไม่มีโอกาสที่ดีเข้ามาในชีวิตเลย
หรืออาจมี แต่เราไม่ไขว่คว้าไว้ บางคนก็ตีอก ชกหัวตัวเอง
ว่าเรานั้นทั้ง ประหยัดทั้งขยัน ชีวิตมีแต่คิดดีทำดี ทำไมไม่เห็นได้ดีบ้าง
นอกจากประหยัด ขยัน และเป็นคนดีแล้ว เรายังต้องฉลาดด้วย
ฉลาดในการ เปิดโอกาสใหม่ๆ ให้กับชีวิตของเรา อาชีพบาง อ ย่ า ง
ไม่ใช่ว่าไม่ดี แต่เป็นอาชีพที่ ไม่มีโอกาสก้าวหน้า เมื่อทำงานไปถึงจุดหนึ่ง
ก็ต้องหาทาง ขยับ ข ย า ย เพื่อให้เราได้รับ โอกาสใหม่ๆ บ้าง
4 จ นความคิด
คนจ นความคิด ก็คือคนที่คิดน้อย หรือคนที่ไม่มี ความคิดนั่นแหละ
ความคิด ของคนที่จ นความคิด จะวนเวียนอยู่แต่ กับสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์
เช่น คิดแต่ดูถูก ตัวเองว่าทำไม่ได้ คิดแต่ว่าชาตินี้ เราจะไม่มีวันรวย
คิดว่าคนอื่นเก่ง เราไม่เก่งเหมือนเขา เราไม่มีทางทำได้แบบเขา
คิดว่าก็เขาเกิดมารวย เราไม่ได้รวยเหมือนเขา เรียนไปด้วย
ทำงานไปด้วย เราทำไม่ได้ หรอก
อาชีพเสริมเราไม่ไหว สุขภาพเราไม่ดี ฯลฯ คิดแบบนี้แล้ว โอกาสหลายๆ อ ย่ า ง
ในชีวิตก็ต้องหลุดลอยไป ไม่ว่าจะเป็นการจ น แบบไหนก็ตาม ก็ไม่เป็นผลดี
กับชีวิตทั้งนั้น การจ นเรื่องเงิน ยังเป็นของนอกกาย ที่หากเราไม่จ น
ความคิดไปด้วย ชีวิตก็ยังมีโอกาส เปลี่ยนแปลงได้ หากเราไม่มีเงิน ไม่มีเวลา
และไม่มีโอกาสดีๆ แถมเรายังมีความคิด ที่ไม่ถูกต้อง หรือมีทัศนคติ
ที่ไม่ดีกับการ ดำเนินชีวิตของเรา เราก็คงจะจ นเหมือนเดิม ไม่มีใครสามารถ
ช่วยอะไรเราได้ นอกจากตัวเราเอง สำคัญที่สุดคือ ต้องเปลี่ยนแปลง ความคิดก่อน
นั่นคืออันดับแรก ที่จะทำให้เรา ก้าวพ้นจาก ความจ นไปได้ เงินเป็นของแปลก
เรามักจะ อ ย า ก มีเงินมากๆ กัน และคิดว่าเมื่อเรามีเงิน เท่านั้นเท่านี้แล้ว ก็จะพอ
เราจะได้ หยุดดิ้นรนสักที ชีวิตของเราคงจะมี แต่ความสุข แต่เพราะเหตุใด
คนรวยถึงไม่หยุด คนรวยบางคนเมื่อร่ำรวย มีเงินทองมากมาย ก็ยังหาความรวย
กันต่อไป เมื่อมีมากแล้ว ก็ อ ย า ก มีมากขึ้นไปอีก แทนที่จะมีความสุข
กลับกลายเป็น สร้างความกังวล และเพิ่มความ ทุ ก ข์ ให้มากขึ้นด้วย
การเขียนแบบนี้ ไม่ได้หมายความว่า ต้องเป็นคนจ น ถึงจะดี เพราะเมื่อรวย
จะเป็นทุ กข์ ไม่ใช่ทุ กคนจะเป็นแบบนั้น เพียงแต่ต้องการจะบอกว่า
ไม่ว่าจะเป็นคนจ นหรือคนรวย เราก็สามารถมีความสุขได้เหมือนกัน
หากเราจ น ไม่มีเงิน เราก็ อ ย่ า จ นความคิดไปด้วย ให้มองแง่ดี ของการที่เรา
ไม่ต้องดูแล ทรัพย์สมบัติมากมาย หรือมีเกียรติยศ ชื่อเสียงค้ำคอ การเลือกกินอาหาร
การแต่งตัวของเรา สามารถทำได้แบบตามสบาย ไม่ต้องเป็นทางการ เหมือนกับคนรวย
นอกจากนั้น ให้เราคิดในแง่ดีถึ งศักยภาพในตัวเองว่า เราสามารถทำอะไรได้อีกมาก
เพื่อยกระดับ ฐานะของตัวเอง เพื่อที่วันหนึ่ง ไม่เพียงแต่เราจะมีชีวิตในรูปแบบ
ที่เราต้องการ แต่เราอาจจะยังสามารถ ช่วยเหลือผู้อื่นได้ด้วย การคิดแบบจรรโลงใจ
แบบนี้ ทำให้เรามีกำลังใจ และก้าวเดินไปข้างหน้า ได้ อ ย่ า ง มีความสุข
ขอขอบคุณที่มา aanplearn, pagenews