เรื่องจริงสอนใจ ทำงานหนักแค่ไหน แต่ชีวิตก็ไม่ก้าวหน้า
เรื่องเหล่านี้ มันสะท้อนให้เห็นว่า สังคมการทำงานที่ เป็นอยู่ในทุกวันนี้มันเป็น อ ย่ า ง ไร คือ เรื่องของคว ายและหม าที่ เพราะคนที่เสนอหน้า มักได้ดีกว่าคนทำงานงกๆสงสัยกันไหมว่า เพราะอะไรทำไมค วายที่ไถนา
อาหารที่ได้กิน จึงไม่ใช่ข้าวล่ะ แต่ว่า หม าที่ไม่ได้ออกแร งทำนา นั่งๆ นอนๆ ทั้งวันนั้นกลับได้กินข้าวอย่ างสำราญล่ะ ถ้าอย่ างนั้นลองมาฟังเรื่องเล่า ควา ยทำนา หม ากินข้าว กันดู แล้วคุณจะเข้าใจ ว่าเหตุผลมันคืออะไร
เมื่อสมัยก่อนๆ ชาวนาใช้ควา ยไถนาเพื่อเพาะปลูกข้าว พวกชาวนาได้เลี้ยงสัตว์ 2 ตัวคือ ควา ยกับห มา ในแต่ละวันสั ตว์ทั้งสองจะมีหน้าที่คือการออกไปทำนา ตั้งแต่เช้าๆเมื่อเวลาใกล้เที่ยงชาวนาจะออกไปตรว จดู ความเรียบร้อยต่างๆ
และพออยู่มาวันหนึ่ง ขณะที่ควา ยและห มาไปทำนา แต่เช้าตามปกตินั้น ควา ยจะเป็นคนไถนา อย่างขยันขันแข็งเดินวนไปวนมา จนไถจนหมดจากนั้นควา ยทั้งเหนื่อยและหมดแร ง เพราะเหนื่อยจากการไถนา
จึงไปอาบน้ำ และนอนพักใต้ต้นไม้ใหญ่ ทีนี้ส่วนห มามาถึงที่นา ก็เอาแต่นอนๆๆ พอเห็นว่าใกล้จะเที่ยง คือเวลาที่ชาวนาจะมาตรว จ งานก็รีบลุกออกไป เดินย่ำบนผืนนา ที่ควายได้ไถไว้จนทั่ว ทำให้ท้องนามีแต่รอยเท้า
แล้วพอชาวนามาถึงหมาก็รีบวิ่ง ไปหาด้วยเนื้ อตัวที่เปื้อน ไปด้วยโค ล นแล้วก็บอกว่า ตนได้ไถนาเสร็จเรียบร้อย เหนื่อยมากเลยล่ะ ชาวนาชื่นชมมาเป็นการใหญ่ แต่ว่านะ เมื่อชาวนามองไปเห็นควา ย หลับอย่ างสบายใจ ใต้ต้นไม้ใหญ่
ชาวนาก็รู้สึกโมโ หจึงเข้าไปต่อว่ามากมาย ว่าเจ้ามัน ข ี้เกีย จไม่สมควรได้กินข้าว และต่อแต่นี้ไป ให้ไปกินหญ้าแทนข้าวแล้วกัน ลงโท ษด้วยการให้นอนในคอ ก ที่ชื้นๆและส่วนหม าเจ้าขยันขันแข็ง ช่วยคนทำนา
จึงให้กินอยู่แบบเดียวกับคน อยู่ในบ้านที่อบอุ่น ทีนี้เข้าใจยังล่ะ ว่าสาเหตุที่ทำไมควา ยจึงกินหญ้า ห ม า ได้กินข้าวเพราะในยุคปัจจุบัน ถ้าเปรียบกับการทำงานเชื่อว่า หลายๆ ท่านคงพบเจอคนประเภทเดียวกับหม า
ที่แบบชอบทำงา นเอาหน้า ประจบเจ้านาย ชอบพูดมากกว่าลงมือทำ เพื่อหวังผลประโยชน์ หรือการได้รับการเลื่อนขั้นที่ได้ดีกว่าได้รับเงินเดื อนมากกว่าคนที่ทำงานหนัก แต่ก็นะมันมีอีกหลายคนที่ทำงานหนักมาก
ซื่อสั ตว์กับงานที่ทำ ก้มหน้าก้มตาทำหน้าที่ตัวเองให้เต็มที่ โดยไม่ได้คิด เสนอผลงานใดๆ ฉะนั้น จึงมักถูกเอาเป รี ยบประจำ หนำซ้ำยังถูกมองว่าเป็นคนขิ้เกีย จอีก สังคมทุกวันนี้ อยู่ย ากขึ้นทุกวัน
ขอขอบคุณที่มา G o t o k now, san-sabai